พ.ร.บ. คือคำที่เรามักจะได้ยินกันติดหูแต่หล า ยคนอาจยังไม่รู้ว่าพรบ.คืออะไร ซึ่งความจริงแล้วพรบคือ การประกันภั ยรถยนต์ภาคบังคับ ซึ่งกฎห ม า ยบังคับใช้ให้รถทุกคันจำเป็นต้องทำประกันพรบคุ้มครองผู้ประสบภั ยจากรถ
การทำ พ.ร.บ. ถือได้ว่าเป็นผู้ที่ได้ปฏิบัติถูกต้องต ามกฎห ม า ย และได้รับสิทธิ์ความคุ้มครองต่อชีวิตทันที ซึ่งจะสังเกตได้จากการที่เราขั บขี่รถ มักจะพบตำรวจตั้งด่านตรวจสิ่งแรกและเป็นจุดสังเกตของตำรวจ
คือแผ่นป้ายพรบที่ติดอยู่ในจุดที่มองเห็นได้ชัดเจนว่าหมดอายุหรือไม่ หากหมดอายุ จะต้องเ สี ยค่าปรับเป็นเงิน 200 บ า ท หรือหากเป็นรถที่ใช้งานอยู่แต่ยังไม่ได้จดทะเบียนเ สี ยภาษี จะต้องเ สี ยค่าปรับเป็นเงิน 1,000 บ า ท
การทำ พ.ร.บ.รถยนต์ เป็นภาคบังคับต ามกฏห ม า ยที่ต้องทำกันอยู่แล้ว แต่หล า ยคนก็ยังไม่รู้ว่า ประโยชน์ของการทำ พ.ร.บ. เราจะได้รับสิทธิ์อะไรบ้าง และสามารถเบิกเงินคืนได้กรณีไหนบ้าง วันนี้เราจะมาบอ กรายละเอียดทั้งหมดเกี่ยวกับการคุ้มครอง พ.ร.บ.รถยนต์
สำหรับการคุ้มครองนั้น จะครอบคลุมรายละเอียดที่สามารถเบิกได้ ดังนี้
1. เป็นค่ารั ก ษ าพย าบาลจากการ บ า ด เ จ็ บ จ่ายต ามจริงได้สูงสุด ไม่เกิน 30,000 บ า ท/คน
2. การ เ สี ย ชี วิ ต หรือ สู ญ เ สี ย อวัยวะ หรือ ทุ พ พ ล ภ า พ อ ย่ างถาวร จะชดเชย 35,000 บ า ท/คน
และถ้าหาก เ สี ย ห า ย จากข้ อ 1 ข้ อ 2 นั้นและจะต้องได้ ไม่เกิน 65,000 บ า ท/คน ซึ่งที่กล่าวมาข้างต้นทั้งหมดนี้ เป็นการจ่ายค่าสินไหมทดแทน โดยที่ผู้ค้ำประกันนั้นจะได้รับภายหลังจากที่มีการพิสูจน์
แล้วว่าผู้ประกันไม่ได้เป็นฝ่ายผิ ดต ามกฎห ม า ยแต่อ ย่ างใด สำหรับวงเงินคุ้มครองรวมกับค่า เ สี ย ห า ย เบื้องต้นกรณีเป็นฝ่ายถูก จะได้รับความคุ้มครองดังนี้
1. หากเ สี ย ชี วิ ต หรือ ทุ พ พ ล ภ า พ อ ย่ างถาวร 300,000 บ า ท/คน
2. หากสู ญ เ สี ย อวัยวะ
2.1 หากมีการ สู ญ เ สี ย ตั้งแต่ข้ อมือหรือแขนหรือเท้าหรือตั้งแต่ข้ อเท้าหรือขาวหรือ ต า บ อ ด อ ย่ างใดอ ย่ างหนึ่งรวมกันเป็น 2 กรณีขึ้นไปจะได้รับเงิน 300,000 บ า ท
2.2 หากมีการ สู ญ เ สี ย มือตั้งแต่ข้ อมือ หรือแขน หรือเท้าตั้งแต่ข้ อเท้า หรือขา หรือสายต า หรือ หูห น ว ก เป็นใบ้ หรือเสี ยความสามารถในการพูดหรือลิ้น ข า ด สู ญ เ สี ย อ วั ย ว ะ สื บ พั น ธุ์ หรืออวัยวะอื่นใด จะได้รับเงิน 250,000 บ า ท
2.3 หากมีการ สู ญ เ สี ย นิ้วตั้งแต่ข้ อนิ้วขึ้นไปไม่ว่าจะเป็นนิ้วได้หรือหลากหล า ยนิ้ว จะได้รับเงิน 200,000 บ า ท
3. ค่า รั ก ษ า พย าบาลจากการ บ า ด เ จ็ บ นั้นจะได้สูงสุด ไม่เกิน 80,000 บ า ท/คน
4. สำหรับจำนวนเงินคุ้มครองสูงสุดรวมกัน ต้องไม่เกิน 304,000 บ า ท
5. วงเงินคุ้มครองความรับผิ ดสูงสุดต่อ อุ บั ติ เ ห ตุ แต่ละครั้ง สำหรับรถยนต์ไม่เกิน 7 ที่นั่ง 5,000,000 ต่อครั้ง
6. ค่าชดเชยการ รั ก ษ า ตัว กรณีผู้ ป่ ว ย ใน 200 บ า ทต่อวัน แต่ไม่เกิน 20 วัน หรือไม่เกิน 4,000 บ า ท
7. วงเงินคุ้มครองความรับผิ ดสูงสุดต่อ อุ บั ติ เ ห ตุ แต่ละครั้ง สำหรับรถยนต์เกิน 7 ที่นั่ง 10,000,000 ต่อครั้ง
เอกสารที่จะต้องเตรียมไว้ใช้ ในการเครม พ.ร.บ. มีดังนี้
1.ในกรณี ทุ พ พ ล ภ า พ
สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบ อุ บั ติ เ ห ตุ
ใบรับรองแพทย์และหนังสือรับรองความพิ ก า ร
สำเนาบันทึกประจำวันของพนักงานสอบสวน หรือ หลักฐานอื่นที่แสดงว่าผู้นั้นได้รับความ เ สี ย ห า ย จากการประสบภั ยจากรถ
2.ในกรณี เ สี ย ชี วิ ต
สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบ อุ บั ติ เ ห ตุ
ใบ ม ร ณ ะ บัตร
สำเนาบัตรประชาชนทาย าทสำเนาทะเบียนบ้าน
สำเนาบันทึกประจำวันในคดีของพนักงานสอบสวน หรือหลักฐานอื่นที่แสดงว่าผู้นั้น เ สี ย ชี วิ ต จากการประสบภั ย จากรถ
3. ในกรณี บ า ด เ จ็ บ
สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบ อุ บั ติ เ ห ตุ
ใบเสร็จรับเงินต้นฉบับกรณีเบิกค่าชดเชย หรือ ผู้ ป่ ว ย ใน
สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบ อุ บั ติ เ ห ตุ
ใบรับรองแ พ ทย์ หนังสือรับรองการ รั ก ษ า ตัวเป็นผู้ ป่ ว ยใน
ให้ทำการเตรียมเอกสารต ามที่ระบุไว้ในแต่ละกรณี จากนั้นก็นำไปยื่นเรื่องขอเบิกเงิน จากบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภั ยจากรถยนต์จำกัดได้ทุกสาขาทั่วประเทศ จากนั้นก็รอให้ทางบริษัทดำเนินการ และทำเรื่องจ่ายเงินคืน ซึ่งจะได้ภายใน 7 วัน แต่เป็นพรบคุ้มครองผู้ เ สี ย ห า ย ในส่วนของคนเท่านั้น
โดยในส่วนของท รั พ ย์สิน และสินเชื่อรถจะไม่สามารถเบิกเงินชดเชยได้ เพราะจะไม่ได้รับการคุ้มครอง หากต้องการการคุ้มครองในส่วนของสินเชื่อรถ ต้องทำประกันภั ยรถยนต์ไว้เองต่างหาก มีให้เลือ กหล า ยแบบตั้งแต่ประกันชั้น 1 จนถึงชั้น 3 ต ามกำลังท รั พ ย์ของแต่ละบุคคล ซึ่งการทำประกันรถยนต์ก็จะเป็นการป้องกัน และลดความเสี่ย งเรื่องค่าใช้จ่ายในการซ่อมรถ หากเกิด อุ บั ติ เ ห ตุ เกิดขึ้น
รู้หรือไม่ว่า พ.ร.บ. รถยนต์ เป็นการประกันภั ยรถยนต์ภาคบังคับ ซึ่งกฏห ม า ยบังคับให้รถทุกคันต้องทำประกัน พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภั ยจากรถ หากรถยนต์ของเราไม่มี พ.ร.บ. มีความผิ ดต ามกฏห ม า ย โดยมีบทลงโ ท ษปรับสูงสุดไม่เกิน 10,000 บ า ท
ที่มา bitcoretech