การสูญเ สี ยไม่วันใดวันหนึ่งก็ต้องเจอ ฉนั้นสำหรับวันนี้นั้นเราจะพามาดูว่าถ้าหากคนที่จากไปนั้น มีเ งิ นฝากไว้ที่ธนาคาร เราจะดำเนินการอ ย่ างไรเพื่อให้ได้เ งิ นนั้นออ กมา ซึ่งหล า ยคนอาจจะเคยเจอเหตุการณ์เช่นนี้มาแล้ว แต่บางคนยังไม่เคยเจอ ศึกษาไว้ก็ไม่ใช่เรื่องเ สี ยห า ยอะไร จะเป็นอ ย่ างไรนั้นเราไปดูกัน
เรียกได้ว่าบางคนอาจจะไม่รู้ว่าจะทำอ ย่ างไร โดยต ามที่กฎห ม า ยได้กำหนดแล้ว ผู้ที่สามารถติดต่อขอปิดบั ญ ชี ได้คือ ผู้จัดการม ร ด กต ามที่พินัยก ร ร มระบุไว้ แต่หากไม่มีพินัยก ร ร มหรือไม่ได้ระบุชื่อในพินัยก ร ร ม ทา ย า ทจะต้องทำเรื่องร้องขอให้ ศ า ล แต่งตั้งผู้จัดการม ร ด กเ สี ยก่อนซึ่งใช้เวลาประมาณ หนึ่งถึงสองเดือน หลังจากนั้นผู้จัดการม ร ด ก ก็จะสามารถติดต่อสถาบันการเ งิ นเพื่อปิดบั ญชีได้
โดยบทความหนึ่งเป็นของสมาชิกผู้ใช้พันทิป ชื่อพ่อขวัญเอยเล่าว่าประสบการณ์ปิดบั ญชีของผู้ล่ ว ง ลั บกับธนาคาร หลังจากได้รับแต่งตั้งเป็นผู้จัดการม ร ด กเพื่อจะได้นำเงิ น มาจัดการแบ่งให้ทา ย า ท ผมวิ่งรอ กไปมากับธนาคารหล า ยครั้งเพื่อปิดบั ญ ชี จนต้องขอเอกสารจากธนาคารว่า
ต้องใช้หลักฐานอะไรบ้าง ซึ่งทางเจ้าหน้าที่ สนง. บอ กว่าให้ไม่ได้ ผมไม่เข้าใจเหมือนกันว่าทำไม เพราะเป็นเรื่องที่ลูกค้าน่าจะรู้ก่อน มาติดต่อ กับธนาคารแต่โ ช คดีที่คุยกับผู้จัดการสาขาเข้าใจ เลยอย ากนำมาแ ช ร์ให้ทุกคนได้รู้กันครับว่า ต้องเตรียมหลักฐานอะไรบ้างถ้าต้องปิดบั ญ ชี ของผู้ล่วงลับกับธนาคาร เอกสารประกอบการขอรับม ร ด กเ งิ นฝากของผู้วายชนม์
กรณีมีคำสั่งศ า ลแต่งตั้งผู้จัดการม ร ด กมาแสดง
1 สำเนาคำสั่งศ า ลแต่งตั้งผู้จัดการม ร ด ก
2 สำเนาหนังสือ รับรองคดีถึงที่สุ ด
3 สำเนาใบม ร ณ ะบั ต ร
4 สำเนาบัตรประจำตัวปชช. ของผู้จัดการ ม ร ด ก(หรือสำเนา Paรรport กรณีผู้จัดการม ร ด กเป็นชาวต่างชาติ)
5 หนังสือทาย าทขอรับม ร ด ก (E05093-4-12)
6 ใบรับเงิ น
7 สมุดเงิ น ฝากทุกประเภทของผู้ว า ย ช น ม์ (ถ้ามี)
ห ม า ยเหตุ หนังสือรับรองคดีถึงที่สุ ด จะขอจากศ า ลได้ หลังจากคำสั่งศ า ลแต่งตั้งผู้จัดการม ร ด กแล้ว 30 วัน รายการ 5และ6 ทางธนาคารมีให้ก ร อ ก (ต้องนำเอกสารตัวจริงไปแสดงด้วยนะ)
กรณีไม่มีคำสั่งศ า ลแต่งตั้งผู้จัดการม ร ด กมาแสดง
1 สำเนาใบม ร ณ ะ บั ต ร
2 สำเนาบัตรประจำตัวปชช. และสำเนาทะเบียนบ้านของทาย าททุกคนผู้มาขอรับเงิ น
3 หนังสือทาย า ทขอรับม ร ด ก (E05093-4-12)
4 หนังสือสัญญาค้ำป ร ะกัน
5 สำเนาบัตรประจำตัวปชช.และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ค้ำป ร ะ กัน
6 หนังสือยินย อ มจากคู่สมรสของผู้ค้ำป ร ะ กัน (ในกรณีที่ผู้ค้ำป ร ะ กันสมรสแล้ว)
7 ใบรับเงิ น
8 ใบสำคัญ การจดทะเบียนสมรสของผู้ว า ย ช น ม์ (ถ้ามี)
9 สมุดเงิ น ฝากทุกประเภท ของผู้ว า ย ช น ม์ (ถ้ามี)
จะเห็นว่าเอกสารที่ธนาคารต้องการมีเยอะมากๆ ปกป้องเรื่องยุ่งๆที่ธนาคารอาจจะต้องเจอภายหลังอ ย่ างเต็มที่ โดยสรุปแล้วขอแนะนำว่าวิ ธีการที่ดีที่สุ ด คือ การทำพินัยก ร ร มไว้ก่อน เพื่อจะได้ไม่ต้องเป็นภาระของทาย าทในการดำเนินการภายหลัง ซึ่งการทำพินัยก ร ร มนั้น ไม่ได้ห ม า ยความว่า เป็นการแช่งตัวเอง แต่หากมองต ามหลักเหตุและผล การทำพินัยก ร ร มนั้นถือเป็นการวางแผนการ เ งิ น ที่รอบคอบมากกว่า
ปล. ข้อมูลจากผุ้เล่าเรื่องและเพิ่มเติมเนื้ อหาบางส่วนเพื่อความเข้าใจมากขึ้น หากผิ ดพลาดประการใดขออภั ยไว้ ณ โอกาสนี้ศึกษาไว้เป็นกรณีเผื่อตัดสินใจ ส่วนหากต้องการดำเนินการจริงๆ โปรดติดต่อธ น า ค า รด้วยตนเองครับ
ที่มา parinya cheewit, faรhion funร kiddeepost