เชื่อว่าหล า ยคนคงจะรู้จักการต่อ พ.ร.บ. รถกันเป็นอ ย่ างดี แต่เชื่อว่าหล า ยคนคงจะไม่เคยรู้ว่า ที่เราต่อไปนั้น มันสามารถเบิกค่าอะไรได้บ้าง เราได้อะไรจากการต่อ พ.ร.บ. วันนี้เราจึงจะพามาดูกันว่า เบิกได้เท่าไหร่
พ.ร.บ. รถยนต์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ผู้ใช้รถต้องทำ เป็นการประกันภั ยร ถยนต์ภาคบังคับ ซึ่งกฏหมายบังคับให้รถทุกคัน ต้องทำประกัน พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภั ยจากรถ
เพื่อให้ความคุ้มครองกับตั วบุคคลที่ได้รับผลจากอุ บั ติ เ ห ตุ โดยไม่คำนึงถึงว่า บุคคลที่ได้รั บ ผ ลกระทบจากอุ บั ติ เ ห ตุเหล่านั้น จะเ ป็ นผู้ที่กระทำความผิ ดหรือไม่
หากรถยนต์ของเราไม่มี พ.ร.บ. มีโ ท ษปรับไม่เกิน 10,000 บาท และเจ้าของรถต้องเก็บรั ก ษ าหลักฐานการมีประกันนี้ไว้ พร้อมแสดงต่อเจ้าหน้ าที่ทุกเวลาที่ใช้รถยนต์ด้วย
หล า ยคนก็คงอย ากจะรู้ว่า เราจะได้ประโยชน์อะไร จากการจ่ายเ งิ นให้กับส่วนนี้ วันนี้เราจะมาบอ กปร ะโยชน์ของการทำ พ.ร.บ. ให้ทุกคนได้ทราบกัน การคุ้มครองนั้น มีหล า ยกรณี และครอบคลุมสามารถใช้เบิกได้ดังนี้
1 ค่ารั ก ษ าพย าบาลจากก า รบ า ด เ จ็ บ ซึ่งจะมีการจ่ายต ามจริง สูงสุดไม่เกิน 30,000 บาท/คน
2 การเ สี ย ชี วิ ต หรือสูญเ สี ย อ วั ยวะ หรือทุพพลภาพอ ย่ างถ า ว ร จะได้รับเ งิ น 35,000 บาท/คน และถ้าหากเ สี ยห า ยจากข้ อ 1 ข้ อ 2 นั้น และจะต้องได้ไม่เกิน 65,000 บาท/คน โดยทั้งหมดนี้คือ การจ่ายค่าสินไหมทดแทน
ซึ่งผู้ค้ำประกันนั้น จะได้รับภายหลังจ ากที่มีการพิสูจน์แล้วว่า ผู้ประกันไม่ได้เป็นฝ่ายผิ ดต ามกฎหมายแต่อย่ างใด นอ กจากนี้จะมีวงเ งิ นคุ้มครองรวมกับค่าเ สี ยห า ยเบื้องต้น กรณีเป็นฝ่ายถูก ดังนี้
1 ค่าชดเชยการรั ก ษ าตัว กรณีผู้ ป่ ว ยใน 200 บาทต่อวัน แต่ไม่เกิน 20 วัน หรือไม่เกิน 4,000 บาท
2 จำนวนเ งิ นคุ้มครองสูงสุด รวมกันต้องไม่เกิน 304,000 บาท
3 สำหรับการสู ญ เ สี ย อ วั ย วะ
3.1 ซึ่งถ้าหากมีการสู ญเ สี ยตั้งแต่ข้ อมือ หรือแขน หรือเท้า หรือตั้งแต่ข้ อ เ ท้า หรือขา หรือ ต า บ อ ดอย่ างใดอย่ างหนึ่ง รวมกันเป็น 2 กรณีขึ้นไป จะได้รับเ งิ นประมาณ 300,000 บาท
3.2 สูญเ สี ย มื อตั้งแต่ข้ อมือ หรือแขน หรือเท้า ตั้งแต่ข้ อเท้ า หรือข า หรือสา ยต า หรือหูห น ว ก เป็นใ บ้ หรือเ สี ยความส ามารถในการพูด หรือลิ้นข า ด สูญเ สี ย อ วั ย วะสื บ พั น ธุ์ หรืออวัยวะอื่นใด จะได้รับเ งิ น 250,000 บ า ท
3.3 สำหรับผู้สู ญ เ สี ยนิ้ว ตั้งแต่ข้ อนิ้วขึ้นไป ไม่ว่าจะเป็นนิ้ วเดียว หรือหลากหล า ย นิ้ ว จะได้รับเ งิ น 200,000 บาท
4 สำหรับค่ารั ก ษ าพย าบาลจากการบ า ด เ จ็ บนั้น จะได้สูงสุดไม่เกิน 80,000 บ า ท/คน
5 การเ สี ย ชี วิ ต หรือทุพพลภาพอย่ างถาวร 300,000 บาท/คน
6 วงเ งิ นคุ้มครองคว ามรับผิ ดสูงสุดต่ออุ บั ติ เ ห ตุแต่ละครั้ง สำหรับรถยนต์เกิน 7 ที่นั่ง 10,000,000 ต่อครั้ง
7. วงเ งิ นคุ้มครองคว ามรับผิ ดสูงสุดต่ออุ บั ติ เ ห ตุแต่ละครั้ง สำหรับรถยนต์ไม่เกิน 7 ที่นั่ง 5,000,000 ต่อครั้ง
สำหรับเอกส ารที่ต้องใช้เวลาในการเครม พ.ร.บ. ก็จะมีดังนี้
1 ในกรณีบ า ด เ จ็ บ
สำเนาบั ต รประชาชน ผู้ ประสบอุ บั ติ เ ห ตุ
ใบเสร็จรับเ งิ นต้นฉบับ กรณีเบิกค่าชดเชย หรือผู้ป่ ว ยใน
สำเนาบั ต รประชาชนผู้ประสบอุ บั ติ เ ห ตุ
ใบรับรองแ พ ท ย์ หนังสือรับรองการรั ก ษ าตัว เป็น ผู้ ป่ วยใน
2 ในกรณีทุพพลภาพ
สำเนาบั ต รประชาชนผู้ประสบอุ บั ติ เ ห ตุ
ใบรับรองแ พท ย์ และหนังสือรับรองความพิ ก า ร
สำเนาบันทึกประจำวันข องพนักงานสอบสวน หรือหลักฐานอื่น ที่แสดงว่าผู้นั้นได้รับความเ สี ยห ายจากการประสบภั ยจากรถ
3 ในกรณีเ สี ย ชี วิ ต
สำเนาบั ต รประชาชนผู้ประสบอุ บั ติ เ ห ตุ
ใบม ร ณ ะบั ต ร
สำเนาบั ต รประชาชนทาย าท สำเนาทะเบียนบ้าน
สำเนาบันทึกประจำวันใ นคดีของพนักงานสอบสวน หรือหลักฐานอื่น ที่แสดงว่าผู้นั้นเ สี ย ชี วิ ตจากการประสบภั ยจากรถ
เมื่อมีการเตรียมเอกส ารเสร็จแล้ว สามารถนำไปยื่นเรื่องขอเบิกเ งิ นได้ จากบริษัทกลางคุ้มครองผู้ปร ะสบภั ยจากรถยนต์จำกัด ได้ทุกสาขาทั่วประเทศ ทางบริษัทจะดำเนินการตรวจสอบ และทำการจ่ายเ งิ นคืนภายใน 7 วัน โดย พ.ร.บ. คุ้มครองผู้เ สี ยห า ยใ นส่วนของคนเท่านั้น ในส่วนของท รั พ ย์สินเชื่อรถยนต์นั้น จะไม่ได้รับการคุ้มครอง ดังนั้นผู้ขับขี่รถยนต์
ควรจะทำประกันภั ยร ถยนต์ไว้สำหรับตัวเอง ไม่ว่าจะเป็นชั้น 1 หรือชั้น 3 ต ามแต่ความสะดวก เพื่อลดความเสี่ยงในค่าจ่ายใช้ และการคุ้มครองรถยนต์ ที่เป็นท รั พ ย์สินของท่าน หากเกิดอุ บั ติ เ ห ตุ
ที่มา sit-smiling