Home ข้อคิด คำคม รอยรั่วที่ต้องรีบอุด ก่อนที่จะไม่มีเ งิ นเก็บ

รอยรั่วที่ต้องรีบอุด ก่อนที่จะไม่มีเ งิ นเก็บ

16 second read
ปิดความเห็น บน รอยรั่วที่ต้องรีบอุด ก่อนที่จะไม่มีเ งิ นเก็บ
0

สำหรับวันนี้เราจะพามาดูรอยรั่วที่เราควรอุดกัน เพื่อไม่ให้เรานั้นต้องเดือ ดร้อน เวลาจำเป็นที่จะใช้เ งิ น หากใครยังมีนิสัยต่อไปนี้ก็ควรรีบปรับปรุงตัวเองให้เร็วก่อนที่จะลำบากไปมากกว่านี้และจะไม่มีเ งิ นเก็บไปทั้งชีวิต

1. ใช้จ่ายกับค่าอาหารเกินความจำเป็น

ค่าอาหารเป็นหนึ่งในค่าใช้จ่ายก้อนใหญ่ในชีวิตประจำวัน วิ ธีที่จะลดร า ยจ่ายก็คือ การประหยัดค่าใช้จ่ายก้อนนี้ให้มากขึ้น เช่น ทำอาหารทานเอง โดยเฉพาะถ้าเป็นครอบครัวหล า ยคน ร า ค าต่อหัวก็จะประหยัดมากขึ้น

และสำหรับวัยทำงาน ที่ต้องซื้ ออาหารในที่ทำงานทานทุกวัน ลองนำอาหารไปทานเอง จะช่วยลดร า ยจ่ายค่าอาหารได้ หรือจะลองสั่งกับข้าวมาทานร่วมกันกับเพื่อนๆ ก็เป็นอีกวิ ธีที่ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย แถมยังได้เปลี่ยนบรรย ากาศในการทานอาหารอีกด้วย

2. จัดลำดับความสำคัญของร า ยจ่ายไม่เป็น

บ่อยครั้งที่แผนการเ งิ นล่มไม่เป็นท่า เพราะเรามักจะจ่ายให้กับ สิ่งที่ไม่สำคัญ แต่เกิดขึ้นก่อน เช่น จ่ายค่าอาหารร า ค าแพงที่อย ากกินก่อน จนลืมคิดไปว่า มีร า ยจ่ายสำคัญที่จะต ามมาในช่วงปล า ยเดือน

อ ย่ างค่าเช่าบ้าน ค่าน้ำค่าไฟ ค่าผ่ อ นสินค้ า เป็นต้น ทำให้ใช้เ งิ นเยอะกว่างบประมาณที่มี ทางที่ดีควรวางแผนร า ยจ่ายให้ละเอียด ตั้งงบประมาณให้กับร า ยจ่ายประจำที่สำคัญก่อน

3. ซื้ อเสื้อผ้ามากเกินไป

เปลี่ยนสิ่งที่ไม่ใช้แล้ว เป็นเ งิ นเข้ากระเป๋า รวมไปถึงเสื้อผ้าที่กำลังล้นตู้อยู่ หล า ยคน มีเสื้อผ้าเยอะมาก แต่ใส่จริงๆ ไม่ถึงครึ่งของที่มี ผลวิจัยระบุไว้ว่า คนไทยซื้ อเสื้อผ้ามากขึ้นร้อยละ 3 ต่อปี

ไม่แปลกใจเลยที่จะล้นตู้ แนะนำว่าให้นำเสื้อผ้าที่ไม่ใส่แล้ว ไปข า ยต่อ หรือลองเรียนรู้วิ ธี DIY เปลี่ยนชุดเก่าให้เป็นชุดเก๋ รวมถึงหากนำเสื้อผ้าที่มี มาจับคู่ดีๆ เปลี่ยนไปมา ก็ดูเหมือนเรามีเสื้อผ้าใหม่ๆ ให้ใส่อยู่ตลอ ดเช่นกัน

4. คิดว่าเ งิ นออม คือเ งิ นที่เหลือจากการใช้จ่าย

ความคิดนี้ไม่ได้ผิ ดอะไร แต่ไม่ใช่แนวคิดตั้งต้นที่ดีนัก สำหรับคนที่อย ากเก็บเ งิ นให้อยู่ เราไม่ควรมองเ งิ นออมเป็นเ งิ นเหลือ แต่ควรมองเป็นเ งิ นที่ถูก จัดหมวดหมู่ เอาไว้ว่า นี่คือเ งิ นออมโดยเฉพาะ เช่น เราจะออมเ งิ น 2,000 บ า ท โดยที่เรามีเ งิ นเดือน 20,000 บ า ท

แปลว่าเราต้องใช้จ่ายให้ไม่เกิน 18,000 บ า ท เมื่อคิดในมุมนี้ สมการที่เราใช้ตั้งต้น ไม่ควรเป็น ร า ยได้ – ร า ยจ่าย = เ งิ นเหลือเพื่อ การออม แต่ควรเป็น ร า ยได้ – เ งิ นออม = ร า ยจ่าย หรือก็คือ เราควรหักเ งิ นออมเก็บเอาไว้ก่อน แล้วค่อยใช้จ่ายต ามงบประมาณที่มีนั่นเอง

5. ไม่เคยจดบันทึกร า ยรับร า ยจ่าย

จากผลสำรวจของบริษัท YouGov ในปี 2558 พบว่าคนไทยมี ค่าใช้จ่ายปริศนา สูงถึง 72เปอร์เซน ของร า ยจ่ายทั้งหมด สรุปได้ว่า คนไทยหนึ่งคน มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อสัปดาห์อยู่ที่ 1,588 บ า ท นั่นห ม า ยความว่า ค่าใช้จ่ายปริศนา ที่ระบุไม่ได้ว่าจ่ายไปกับอะไรบ้าง จะอยู่ที่ประมาณ 1,143 บ า ท

นั่นคือมากกว่าหนึ่งพันบ า ท ต่อสัปดาห์เลยทีเดียว ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เชื่อว่า ค่าใช้จ่ายดังกล่าว น่าจะมาจากค่าอาหาร สินค้ าอุปโภคบริโภค ค่าขน มขบเคี้ยว หรือ การซื้ อสินค้ าฟุ่มเฟือย

ค่าใช้จ่ายรั่วไหลกับอะไรไม่รู้ ปัญหานี้แก้ไขได้ด้วยการจดบันทึก ร า ยรับร า ยจ่ายให้เป็นนิสัย ปัจจุบัน มีแอปพลิเคชันร า ยรับร า ยจ่ายมากมาย ทั้ง iOS และ Android ให้เราได้เลือ กใช้

6. เน้นซื้ อแต่เสื้อผ้าร า ค าถูก แต่คุณภาพต่ำ

อีกจุดสำคัญที่ช่วยอุดรอยรั่ว จากร า ยจ่ายในการซื้ อเสื้อผ้า ก็คือ การเลือ กเสื้อผ้าที่ใช้วัสดุคุณภาพดี เพราะเมื่อเราซื้ อเสื้อผ้าร า ค าถูกที่เนื้อผ้าไม่ดี หรือ การตัดเย็บไม่ดี จะทำให้เสื้อผ้าเหล่านั้นเสื่อมสภาพเร็ว หลังจากซักไปเพียงไม่กี่ครั้ง และทำให้เราต้องเ สี ยเ งิ นเพื่อซื้ อเสื้อผ้าใหม่อีกรอบ

7. ฝากเ งิ นแต่แบบออมท รั พ ย์

ลองฝากประจำ หรือลงทุ นแบบหักบัญชีอัตโนมัติ เพื่อสร้างวินัยการออม จะได้ไม่ต้องกังวลว่า เดือนนี้ได้ออมเ งิ นแล้วหรือยัง ซึ่งวิ ธีนี้ง่ายต่อ การไปถึงเป้าห ม า ยการออมที่วางไว้ด้วย

8. ไม่เคยคิดเรื่องดอ กเบี้ย

ก่อนจะกู้ยืมเ งิ น มา ต้องคิดเรื่องดอ กเบี้ยให้ดีๆ ยิ่งยืมนาน ดอ กเบี้ยที่จ่ายยิ่งเยอะขึ้นเป็นเงาต ามตัว เป็นรอยรั่วใหญ่ที่แทบทุกคน มองข้าม เพราะเห็นว่าผ่ อ นถูกดี ถ้าจ่ายไหวก็จบ ที่เหลือช่างมัน

พอมาคำนวณแล้ว ดอ กเบี้ยที่ต้องจ่าย ไม่ใช่เ งิ นจำนวนน้อยๆ เลยนะ ดังนั้น อ ย่ าสร้างห นี้ดีกว่า แต่ถ้าจำเป็นจริงๆ ก็ควรเลือ กแหล่งเ งิ นที่ดอ กเบี้ยต่ำที่สุด และผ่ อ นให้สั้นที่สุดเท่าที่จะผ่ อ นได้

9. ทำตัวเป็นนักสะสม

ของสะสมเป็นของที่มีคุณค่าทางจิตใจ แต่อ ย่ างไรก็ต าม ใครที่เป็นนักสะสมก็มักจะเต็มไปด้วยร า ยจ่ายที่รั่วไหล ถ้าเราไม่หยุดตัวเองเลย เมื่อมองย้อนกลับมาอีกที อาจพบว่ามีของสะสมอยู่เต็มบ้านไปหมด แต่เ งิ นในบัญชีกลับว่างเปล่า มีผลสำรวจพบว่า คนไทยชอบบินไปซื้ อของแบรนด์เนมจากต่างประเทศ

เป็นตัวเลขมูลค่ามหาศาล ลองเช็กตัวเองดูว่า เราเป็นอีกหนึ่งคนหรือเปล่า ที่ชอบเก็บแบรนด์เนมแพงๆ ไว้ในตู้โชว์ แนะนำให้สะสมบ้าง และปล่อยข า ยบ้างเมื่อร า ค าสูงขึ้น เพื่อเป็นการรั ก ษ าสมดุลทางการเ งิ น

10. ไม่สนใจหรือมองข้ามสิทธิพิเศษ

ร้านค้ าหล า ยร้าน มักมีสิทธิพิเศษให้เมื่อเข้าไปใช้บริการ อ ย่ าละเลยสิทธิพวกนี้ เพราะบางทีเราอาจได้รับส่วนลดมากมาย ที่ช่วยให้ประหยัดเ งิ นไปได้เยอะเลย

11. เอาเ งิ นในอนาคตมาใช้โดยไม่จำเป็น

ห นี้บัตรเครดิต เกิดขึ้นเพราะความชะล่าใจ ในการจับจ่ายใช้สอย โดยคิดว่ายังมีเวลาหาเ งิ น มาจ่ายทีหลัง หรือมีเ งิ นเพียงพอในธนาคาร แต่เพราะความสะดวกของบัตรเครดิต อาจทำให้ใช้เกินงบประมาณที่ตั้งไว้ จนทำให้เก็บเ งิ นได้ไม่ถึงเป้าห ม า ย หรือ การเ งิ นติดลบเอาได้ง่ายๆ เช่นกัน

12. เป็นสมาชิกทั้งที่ไม่ค่อยได้ใช้

บ่อยครั้งที่เราจ่ายเ งิ นค่าสมาชิกร า ยเดือน เพราะตั้งใจว่าจะมาใช้บริการบ่อยๆ แต่ความเป็นจริง กลับไม่ค่อยได้มาใช้บริการ เช่น ฟิตเนสที่สมัครไว้เพราะอย ากหุ่นดี หรือบริการสตรีมมิ่งความบันเทิงต่างๆ ที่สมัครไว้ผ่ อ นคล า ย แต่กลับไม่ค่อยได้ดู สิ่งเหล่านี้ ถ้าเราไม่ได้ใช้งานจริงๆ ควรยกเลิกไปก่อนก็ได้ แล้วค่อยต่ออายุการเป็นสมาชิกภายหลัง ในวันที่เราต้องการกลับมาใช้บริการอีกครั้ง

13. ซื้ อแต่ของใช้ร า ค าถูก

เ สี ยน้อยเ สี ยย าก เ สี ยมากเ สี ยง่าย ยกตัวอ ย่ าง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ดี ร า ค าสูง ก็จะมีอายุการใช้งานที่นาน ทำให้ไม่ต้องเ สี ยเ งิ นเพื่อเปลี่ยนเครื่องใหม่บ่อยๆ เป็นสิ่งของชิ้นใหญ่ที่ควรลงทุ นเพื่อความสะดวกสบาย และควรตระหนักถึงการประหยัดพลังงานด้วย เพราะการประหยัดค่าไฟก็ช่วยคืนเ งิ นในกระเป๋าได้เช่นกัน

14. ชอบพาตัวเองไปอยู่ในที่เสี่ยง และไม่รู้จักพอใจในสิ่งที่มี

การไปเที่ยวต ามห้างสรรพสินค้ า หรือเที่ยวข้างนอ ก จะพบกับสิ่งล่อต าล่อใจมากมาย จนอาจทำให้เราเ สี ยเ งิ น มากกว่าที่คิดไว้ ลองสร้างความสุข ความบันเทิงง่ายๆ ที่บ้าน อ ย่ างฟังเพลง ดูโทรทัศน์ อ่านหนังสือ หรือทำงานอ ดิเรกต่างๆ จะช่วยให้เราประหยัดมากขึ้น

15. คิดแค่ประหยัดเ งิ น แต่ไม่โฟกัสเรื่องการหาเ งิ นเพิ่ม

การประหยัดเป็นสิ่งทีดี แต่มันจะดียิ่งกว่า หากเรารู้จักหาเ งิ นจากช่องทางอื่นเพิ่มเติม อ ย่ าคิดแค่ทำงานไปวันๆ รอวันหยุด รอวันเ งิ นเดือนออ ก นับวันไปเที่ยว เพราะชีวิตเราจะวนอยู่ที่เดิม ไม่ก้าวหน้าไปไหน ไม่มีการพัฒนา เราจึงต้องเปิดใจเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ หาช่องทางใหม่ๆ อยู่เสมอ

16. ไม่รู้จักใช้ระบบขนส่งสาธารณะ

การโดยสารด้วยรถสาธารณะ ช่วยให้เราประหยัดเ งิ นได้มาก และยังไม่ต้องเหนื่อยขับรถเองด้วย หากซื้ อบัตรร า ยเดือนของรถไฟฟ้า หรือรถเมล์ ก็จะพบว่าร า ค าค่าโดยสารยิ่งถูกลงไปอีก

17. ไม่ใช้กฎ 24 ชั่ วโมง และการเปรียบเทียบ

เวลาที่เราอย ากซื้ ออะไรสักอ ย่ าง ให้กลับบ้านไปก่อน แล้วไตร่ตรองอีกสัก 24 ชั่ วโมง จากนั้นค่อยกลับมาซื้ ออีกครั้ง อ ย่ างน้อยเราก็ไม่ต้องเ สี ยดายเ งิ นทีหลัง เพราะอารมณ์ชั่ ววูบ แต่ถ้าจะให้ดี เราต้องคำนวณร า ค าสิ่งของที่จะซื้ อ เทียบกับร า ยได้ของเราด้วย เช่น เราอย ากได้รองเท้าร า ค า 5,000 บ า ท แต่เราหาเ งิ นได้วันละ 500 บ า ท นั่นเท่ากับว่า เราต้องทำงาน 10 วันเต็มๆ เพื่อรองเท้าคู่นี้คู่เดียว ลองเปรียบเทียบความคุ้มค่าดู ถ้าเรารับได้ เราคิดว่ามันคุ้ม ก็ค่อยซื้ อ แต่ถ้าเรารู้สึกแพงไป นั่นแปลว่า มันยังไม่คุ้มที่จะซื้ อตอนนี้

ที่มา K r u n g s r i  aanplearn

Load More Related Articles
Load More By kiddidee
Load More In ข้อคิด คำคม
Comments are closed.

Check Also

4 ข้ อคิดใช้เ งิ นให้มีเก็บของคนเ งิ นเดือน 15,000

ทุกวันนี้อะไรก็ขึ้นราคาไปหมดมีอ ย่ างเดียวที่ไม่ขึ้นก็ค … …