Home ข้อคิด คำคม 17 เรื่องทำให้ได้ก่อนที่จะไม่มีเ งิ นเก็บไว้ใช้ย ามจำเป็น

17 เรื่องทำให้ได้ก่อนที่จะไม่มีเ งิ นเก็บไว้ใช้ย ามจำเป็น

17 second read
ปิดความเห็น บน 17 เรื่องทำให้ได้ก่อนที่จะไม่มีเ งิ นเก็บไว้ใช้ย ามจำเป็น
0

เรื่องบางเรื่องหากเราไม่รีบจัดการอาจจะทำให้เราลำบากได้ ยิ่งเรื่องเ งิ นเราต้องรู้วิ ธีบริหารจัดการเ งิ นให้ดี ไม่อ ย่ างนั้นจะลำบากเอา วันนี้เราเลยมี 17 ข้อที่ต้องรีบจัดการก่อนที่จะไม่มีเ งิ นเหลือเก็บ

1.ค่าอาหารที่จ่ายเกินความจำเป็น

ค่าอาหารเป็นหนึ่งในค่าใช้จ่ายก้อนใหญ่ที่สุดก้อนหนึ่งในชีวิตประจำวัน วิ ธีหนึ่งที่จะล ดรูร า ยจ่ายก็คือ การประหยัดค่าใช้จ่ายก้อนนี้ให้มากขึ้น สำหรับการล ดร า ยจ่ายค่าอาหารมีเกร็ดเล็กเกร็ดน้อย เช่น ทำอาหารทานเอง การทำอาหารทานเองประหยัดค่าใช้จ่ายกว่าซื้ อทาน

โดยเฉพาะถ้าเป็นครอบครัวหล า ยคน ร า ค า ต่อหัวก็จะประหยัดมากขึ้น และสำหรับคนทำงานที่เคยซื้ ออาหารในที่ทำงานทานทุกวัน ลองนำอาหารไปทาน

เอง เช่น ตั้งเป้าว่าจะนำอาหารมาทานเอง 1-2 วันต่อสัปดาห์ ก็จะช่วยล ดร า ยจ่ายค่าอาหารได้

คนทำงานส่วนใหญ่มักนิยมทานอาหารจานเดี่ยวเพราะความสะดวกคล่องตัว การสั่งกับข้าวทานร่วมกันนั้นเป็นอีกวิ ธีที่นอ กจากจะได้เปลี่ยนบรรย ากาศแล้วยังเพิ่มโอกาสการประหยัดค่าใช้จ่ายได้อีกด้วย

2.จัดลำดับความสำคัญของร า ยจ่าย

หล า ยครั้งก็จ่ายไม่ได้จริงต ามที่ตั้งใจเพราะมักจะจ่ายให้กับ สิ่งที่ไม่สำคัญแต่เกิดขึ้นก่อน เช่น จ่ายให้กับค่าอาหารที่อย ากทานในแต่ละวันก่อน จนลืมคิดไปว่ามีส่วนที่สำคัญที่จะต ามมาในช่วงปล า ยเดือน

เช่น ค่าเช่าบ้าน ค่าน้ำค่าไฟ ค่าผ่ อ นสินค้ า เป็นต้น ทำให้ใช้เ งิ นเยอะกว่างบประมาณ ทางที่ดีควรวางแผนร า ยจ่ายให้ละเอียด ตั้งงบประมาณให้กับร า ยจ่ายประจำที่สำคัญก่อน

3. ล ดร า ยจ่ายเรื่องเสื้อผ้า

เปลี่ยนสิ่งที่ไม่ใช้แล้วเป็นเ งิ นเข้ากระเป๋า รวมไปถึงเสื้อผ้าที่กำลังล้นตู้อยู่ หล า ยคน มีเสื้อผ้าเยอะมาก แต่ใส่ไปไม่ถึง 50 เปอร์เซ็นต์ของทั้งหมด มีผลวิจัยเคยกล่าวไว้ว่าคนไทยซื้ อเสื้อผ้ามากขึ้นร้อยละ 3 ต่อปี ไม่แปลกใจเลยที่จะล้นตู้

แ น ะนำว่าให้ตัดใจแล้วนำไปข า ยต่อ หรือลองเรียนรู้วิ ธี DIY เปลี่ยนชุดเก่าให้เป็นชุดเก๋ รวมถึงหากนำเสื้อผ้าที่มีมาจับคู่ดีๆ เปลี่ยนไปมาก็ดูเหมือนคุณมีเสื้อผ้าใหม่ๆ ตลอ ดเวลาได้เหมือนกัน

4.คิดว่าเ งิ นออม คือ เ งิ นที่เหลือจากการใช้จ่าย

ความคิดนี้ไม่ได้ผิ ดอะไร แต่ไม่ใช่แนวคิดตั้งต้นที่ดีสำหรับคนที่อย ากเก็บเ งิ นให้ได้อ ย่ างมีวินัย เราไม่ควรมองเ งิ นออมเป็นเ งิ นเหลือ แต่ควรมองเป็นเ งิ นที่ถูก จัดหมวดหมู่ เอาไว้ว่านี่คือเ งิ นออมโดยเฉพาะ เช่น เราจะออมเ งิ น 2,000 บ า ท โดยเรามีเ งิ นเดือน 20,000 บ า ท แปลว่าเราต้องใช้จ่ายให้ไม่เกิน 18,000 บ า ท

เมื่อคิดในมุมนี้ สมการที่เราควรตั้งต้นไม่ควรเป็น ร า ยได้ – ร า ยจ่าย = เ งิ นเหลือเพื่อ การออม แต่ควรเป็น ร า ยได้ – เ งิ นออม = ร า ยจ่าย หรือก็คือเราควรหักเ งิ นออมเก็บเอาไว้ก่อน แล้วค่อยใช้จ่ายต ามงบประมาณที่มีนั้นเอง

5.ไม่เคยจดบันทึกร า ยรับร า ยจ่าย

จากผลสำรวจของบริษัท YouGov ในปี 2558 ผลการสำรวจนี้พบว่าคนไทยมี ค่าใช้จ่ายปริศนา สูงถึง 72เปอร์เซน ของร า ยจ่ายทั้งหมด ซึ่งสรุปได้ว่าคนไทยหนึ่งคน มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อสัปดาห์อยู่ที่ 1,588 บ า ท นั่นห ม า ยความว่าค่าใช้จ่ายปริศนาที่ระบุไม่ได้ว่าจ่ายไปกับอะไรจะอยู่ที่ประมาณ 1,143 บ า ท

มากกว่าพันบ า ทต่อสัปดาห์เลยทีเดียว ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เชื่อว่าค่าใช้จ่ายดังกล่าวน่าจะมาจากค่าอาหาร สินค้ าอุปโภคบริโภค ค่าขน มขบเคี้ยว หรือ การซื้ อสินค้ าฟุ่มเฟือย

ค่าใช้จ่ายรั่วไหลกับอะไรไม่รู้ ปัญหานี้แก้ไขได้ด้วยการจดบันทึกร า ยรับร า ยจ่ายให้เป็นนิสัย ปัจจุบัน มีแอปพลิเคชันร า ยรับร า ยจ่ายมากมาย ทั้ง iOS และ Android ให้คุณได้เลือ กลองใช้

6.อ ย่ าซื้ อแต่เสื้อผ้าร า ค า ถูก

อีกจุดสำคัญที่ช่วยอุดรอยรั่วจากร า ยจ่ายในการซื้ อเสื้อผ้าก็คือ การเลือ กเสื้อผ้าที่ใช้วัสดุคุณภาพดี เพราะเมื่อคุณซื้ อเสื้อผ้าร า ค า ถูกที่เนื้อผ้าไม่ดี

หรือ การตัดเย็บไม่ดี จะทำให้เสื้อผ้าเหล่านั้นเสื่อมสภาพเร็วหลังจากซักไปเพียงไม่กี่ครั้ง และทำให้คุณก็ต้องเ สี ยเ งิ นเพื่อซื้ อเสื้อผ้าใหม่อีกรอบ

7.อ ย่ ามีเฉพาะออมท รั พ ย์

ลองฝากประจำ หรือลงทุนแบบหักอัตโนมัติบัญชีเพื่อสร้างวินัยการออม จะได้ไม่ต้องกังวลว่าเดือนนี้ได้ออมเ งิ นหรือฝากเ งิ นเข้าธนาคารแล้วหรือยัง ซึ่งวิ ธีนี้ง่ายต่อ การไปถึงเป้าห ม า ยการออมที่วางไว้ด้วย

8.ไม่เคยคิดเรื่องดอ กเบี้ยเ งิ นฝาก

ลองฝากประจำ หรือลงทุนในกองทุนรวมเพื่อสร้างผลตอบแทนเพิ่มขึ้นจากการฝากเ งิ นทั่วไป แบบการเลือ กหักบัญชีแบบอัตโนมัติบัญชี ก็สามารถสร้างวินัยการออมได้เหมือนกัน จะได้ไม่ต้องกังวลว่าเดือนนี้ได้ออมเ งิ นหรือยัง ซึ่งวิ ธีนี้ง่ายต่อ การไปถึงเป้าห ม า ยการออมที่วางไว้ด้วย

9.ทำตัวเป็นนักสะสม

ของสะสมเป็นของที่มีคุณค่าทางจิตใจ แต่อ ย่ างไรก็ต าม ใครที่เป็นนักสะสมก็มักจะเต็มไปด้วยร า ยจ่ายที่รั่วไหล ถ้าคุณไม่หยุดตัวเองเลย เมื่อมองย้อนกลับมาอีกทีอาจพบว่ามีของสะสมอยู่เต็มบ้านไปหมด แต่เ งิ นในบัญชีกลับว่างเปล่า มีผลสำรวจพบว่าคนไทยชอบบินไปซื้ อของแบรนด์เนมจากต่างประเทศเป็นตัวเลขมูลค่ามหาศาล ลองเช็กตัวเองดูว่าคุณเป็นอีกหนึ่งคนหรือเปล่าที่ชอบเก็บแบรนด์เนมแพงๆ ไว้ในตู้โชว์ แ น ะนำให้สะสมบ้างและปล่อยข า ยบ้างเมื่อร า ค า สูงขึ้น เพื่อเป็นการรั ก ษ าสมดุลทางการเ งิ น

10.ไม่สนใจหรือมองข้ามสิทธิพิเศษ

ร้านค้ าหล า ยร้าน มักมีสิทธิพิเศษให้เมื่อเราไปช้อปปิ้ง ก็ขออ ย่ าละเลยสิทธิพวกนี้ เพราะบางทีคุณอาจได้รับเช็คของขวัญ บัตรกำนัล ดีๆ ที่ทำให้ประหยัดเ งิ นไปได้อีกเยอะเลย นอ กจากนั้นควรกดติดต ามแฟนเพจ เว็บไซต์ ที่คอยอัปเดตส่วนล ดบ่อยๆ เผื่อว่าจะมีโปรโมชั่นที่น่าสนใจโผล่ขึ้น มาให้ได้ช้อป

11.เอาเ งิ นในอนาคตมาใช้โดยไม่จำเป็น

ห นี้บัตรเครดิต เกิดขึ้นเพราะความชะล่าใจในการซื้ อของ ซื้ อก่อนโดยคิดว่า ยังมีเวลา จะหาเ งิ น มาจ่ายทีหลัง หรือมีเ งิ นเพียงพอในธนาคาร แต่เพราะความสะดวกของบัตรเครดิตก็ทำให้ใช้เกินงบประมาณที่ตั้งไว้ จนทำให้เก็บเ งิ นได้ไม่ถึงเป้าห ม า ย

12.ยกเลิกการเป็นสมาชิกที่ไม่ได้ใช้

หากคุณต้องจ่ายเ งิ นเพื่อเป็นสมาชิกกับหล า ยๆ ที่ เพราะตั้งใจว่าจะมาใช้บริการบ่อยๆ แต่นานๆ ครั้งถึงจะได้ใช้จริง อ ย่ างฟิตเนสที่สมัครไว้เพราะอย ากหุ่นดี อ ย่ าลืมว่าคุณสามารถต่ออายุการเป็นสมาชิกในภายหลังได้ ถ้าไม่ได้ไปจริงๆ ก็ยกเลิกไปก่อนก็ได้

13.ซื้ อแต่ของใช้ร า ค า ถูก

เ สี ยน้อยเ สี ยย าก เ สี ยมากเ สี ยง่าย ยกตัวอ ย่ างเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ดีร า ค า สูงก็จะมีอายุการใช้งานที่นาน ทำให้ไม่ต้องเ สี ยเ งิ นเพื่อเปลี่ยนอันใหม่บ่อยๆ เป็นสิ่งของชิ้นใหญ่ที่ควรลงทุนเพื่อความสะดวกสบาย และควรตระหนักถึงการประหยัดพลังงานด้วย เพราะการประหยัดค่าไฟก็ช่วยคืนเ งิ นในกระเป๋าได้

14.มีความสุขกับสิ่งที่มี หลีกเลี่ยงการใช้จ่ายโดยไม่จำเป็น

การไปเที่ยวต ามห้างสรรพสินค้ า หรือเที่ยวข้างนอ กจะทำให้พบกับสิ่งล่อต าล่อใจมากมาย จนจ่ายเ งิ นไปในจำนวน มากกว่าที่ตั้งใจเอาไว้ ลองมีสักวันที่คุณสร้างความสุขและความบันเทิงง่ายๆได้ที่บ้าน อ ย่ างฟังเพลง ดูโทรทัศน์ อ่ า นหนังสือ ที่เรามักจะซื้ อมาแล้วอ่ า นไม่จบให้จบเ สี ยก่อน เป็นอีกเทคนิคเล็กๆ น้อยๆ ในการล ดร า ยจ่ายเรื่องความบันเทิง แต่ทั้งนี้ให้คุณดูความเหมาะสมและความชอบกับคุณและครอบครัวของคุณเองด้วย

15. ใช้กฎ 24 ชั่ วโมง และการเปรียบเทียบ

เวลาที่คุณอย ากซื้ อของร า ค า สูงๆ ให้กลับบ้านไปแล้วไตร่ตรองอีกสัก 24 ชั่ วโมงค่อยเวียนกลับมาซื้ ออีกครั้ง เพราะถึงเวลานั้นก็อาจจะไม่อย ากได้แล้ว หรือลองคำนวณร า ค า สิ่งของที่จะซื้ อ เปรียบเทียบกับจำนวนค่าตอบแทนร า ยวันที่จากการทำงานของคุณ

เช่น รองเท้าร า ค า 5,000 บ า ท แต่คุณมีเ งิ นเดือน 20,000 บ า ท ทำงานเดือนละ 22 วัน เท่ากับ 20,000/22 = 909 บ า ท ดังนั้น การซื้ อรองเท้าคู่นี้เทียบได้กับการที่คุณต้องทำงานแลกเป็นเวลา 5.5 วัน ให้ลองเปรียบเทียบกับความคุ้มค่าดู

16. อ ย่ าเพียงแค่ประหยัดเ งิ น

การออมเป็นสิ่งทีดี โดยควรตั้งเป้าห ม า ยในการออมระยะสั้น เช่น ออมให้ได้ 300 บ า ทหรือมากกว่านั้นต่อสัปดาห์ จะทำให้ไม่รู้สึกหนักเกินไปและมีกำลังใจในการเก็บเ งิ น และควรวางแผนการเกษียณให้เร็วที่สุดอ ย่ าเพียงแค่ทำงานไปทุกๆ เดือน ทางที่ดีให้ลงทุนในกองทุนเอาไว้บ้างเพื่ออนาคต

17. ใช้ระบบขนส่งสาธารณะเ สี ยบ้าง

การโดยสารด้วยรถสาธารณะช่วยให้คุณประหยัดเ งิ นได้มาก และยังช่วยประหยัดพลังงานแทนการขับรถยนต์ส่วนตัวด้วย หรือลองซื้ อบัตรร า ยเดือนของรถไฟฟ้า รถเมล์ ก็จะพบว่าค่าโดยสารยิ่งร า ค า ถูกลงไปอีก

ที่มา k r u n g s r i  forlifeth

Load More Related Articles
Load More By kiddidee
Load More In ข้อคิด คำคม
Comments are closed.

Check Also

4 ข้ อคิดใช้เ งิ นให้มีเก็บของคนเ งิ นเดือน 15,000

ทุกวันนี้อะไรก็ขึ้นราคาไปหมดมีอ ย่ างเดียวที่ไม่ขึ้นก็ค … …