หากคุณเป็นคนหนึ่งที่ตอนนี้กำลังมีห นี้ ไม่ว่าจะยืมหรือจะกู้มาก็ต าม เมื่อเราเป็นห นี้เขาแล้วเราก็ต้องรู้จักหามาคืน ฉนั้นวันนี้เราจะพามาดูวิ ธีในการใช้ห นี้ที่ยืมเขามาและไม่ทำให้เจ้าห นี้ต้องเดือ ดร้อน
การมีห นี้ถือเป็นบทเรียนสำคัญของชีวิต การที่คุณหยิบยืมเ งิ นจากผู้อื่นนั่นเท่ากับว่า คุณได้รับโอกาสต่อลมห า ยใจออ กไปแล้ว ที่สำคัญเมื่อตัวเองได้รับความช่วยเหลือ ก็จงอ ย่ าสร้างความเดือ ดร้อนให้คนอื่นและพย ามย ามใช้คืนดังนี้
1. พูดคุยให้ชัดเจนถึงเหตุผลที่เราต้องหยิบยืมเ งิ นเพื่อน ยืมเ งิ นญาติ
การจะขอความช่วยเหลือจากใครสักคน สิ่งแรกคือคุณต้องชัดเจน อ ย่ าอมพะนำไม่พูดความจริง คนที่จะช่วยเหลือจึงจะทราบสถานการณ์และความจำเป็นของคุณโดยละเอียด และควรกำหนดเวลาใช้คืนให้ชัดเจนว่าคุณพร้อมใช้คืนเมื่อไหร่ และที่สำคัญ
เมื่อได้รับความช่วยเหลือมาแล้ว อ ย่ าได้ห า ยหน้าห า ยต าไปอ ย่ างเด็ดข า ด แม้จะยังไม่ถึงกำหนดชำระก็จงติดต่อ กับเพื่อนเพื่อแสดงความจริงใจตลอ ดเวลา หากคุณยังติดขัดอะไรอยู่จงบอ กเหตุผลกับเพื่อนหรือญาติเสมอ การห า ยเข้ากลีบเมฆ คุณกำลังทำล า ยตัวเองและความน่าเชื่อถือของตัวเองอ ย่ างน่าอ ดสูที่สุด
2. สำรวจข้ อผิ ดพลาดในอ ดีตของตัวเองว่าเกิดอะไรขึ้นกันแน่
ก่อนจะใช้ห นี้ได้ คุณต้องเข้าใจเ สี ยก่อนว่ามันเกิดอะไรขึ้นกับคุณบ้าง คุณจะได้เข้าไปแก้ไข อ ย่ างตรงจุด ถ้าคุณไม่สำรวจความผิ ดพลาดในอ ดีต เชื่อเถอะว่าในไม่ช้าวังวนเดิมๆ จะกลับมาหาคุณอ ย่ างแน่นอน
3. ถ้าบริหารแล้วยังไม่พอก็ต้องหาร า ยได้เพิ่ม
สำนวนที่ยังคงเป็นจริงเสมอคือประโยคที่ว่า หาให้มากกว่าใช้ ถ้าคุณบริหารทุกอ ย่ างแล้ว ยังไม่เป็นไปต ามเป้า คุณก็ควรจะหาร า ยได้เพิ่มเติมครับ สำรวจว่าคุณมีศักยภาพอะไร หรือถนัดอะไรและมันพอจะเอามาเป็นวิ ธีหาร า ยได้เพิ่มเติมได้หรือไม่แล้วจงลงมือทำเ สี ย เอาเวลาที่มานั่งเ ค รี ย ดนั่งกุมขมับมาหาเ งิ นเพิ่มดีกว่าครับ
4. ปรับพฤติก ร ร มสิ้นคิดบางอ ย่ างลง
ถ้าแม้คุณจะมีบัญชีร า ยรับร า ยจ่าย หรือคุณจะรู้และเข้าใจความผิ ดพลาดที่เกิดขึ้นในอ ดีต แต่ถ้าคุณยังไม่ยอมเปลี่ยนพฤติก ร ร มตัวเอง มันก็แทบจะไม่มีประโยชน์อะไรเลย แล้วคุณก็ไม่อาจหลุดพ้นจากวังวนนั้นแน่นอน จำไว้ว่าการจะเปลี่ยนแปลงตัวเองได้ คุณต้องอาศัยความอ ดทนและความตั้งใจอ ย่ างมาก
5. บริหารเ งิ นที่เหลือจากการตัดร า ยจ่ายนั้นอ ย่ างมีประสิทธิภาพ
จริงๆ แล้วมันไม่ใช่แค่การบริหารเ งิ นที่เหลือจากการจัดการร า ยจ่ายที่ไม่จำเป็นนั้นอ ย่ างเดียว คุณควรจะวางแผนการเ งิ นตั้งแต่แรกด้วยซ้ำ เ งิ นที่ได้เพิ่มมานั้น คุณควรจะวางแผนดีๆ ว่าแต่ละส่วนคุณจะจัดการอ ย่ างไรส่วนไหนเก็บ ส่วนไหนกันไว้ใช้ห นี้ คุณต้องแบ่งแต่ละส่วนให้ชัดเจนครับ
6. ทำบัญชีค่าใช้จ่ายเพื่อเปรียบเทียบสมดุลของร า ยได้และร า ยจ่าย
จริง ๆ สิ่งนี้เป็นหัวข้ อคลาสสิคที่สุดสำหรับการสร้างวินัยทางการเ งิ น เ พ ร า ะมันจะบอ กคุณเลยว่า ในแต่ละเดือนคุณมีร า ยได้เข้ามาเท่าไรและคุณเ สี ยเ งิ นไปกับเรื่องอะไรบ้าง คุณจะได้เข้าไป จัดการกับร า ยจ่ายที่ไม่จำเป็นเหล่านั้น
ที่มา e-yhangwa