ในยุคเศรษฐกิจไม่ค่อยดีเช่นนี้ หล า ยๆคนคงวิตกกังวลกับเรื่องเ งิ นๆทองๆ กลัวจะลำบากไม่พอใช้ ฉนั้นสิ่งสำคัญคือ การปรับตัวให้เข้ากับสถาณการณ์และวางแผนการใช้ชีวิตให้ดีรอบคอบเพื่อให้รับมือ กับยุคเศรษฐกิจแบบนี้ให้เรานั้นอยู่รอ ด แต่จะรับมืออ ย่ างไรนั้นวันนี้เรามีแนวทางมาฝากกัน
1. ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาใช้ ในการดำเนินชีวิต เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติตนไม่วาจะอยู่ในอาชีพใด ก็สามารถยึดถือวิถีไทยในความพอ ดี พอประมาณ อ ย่ าฟุ่มเฟือยไร้ประโยชน์ อ ย่ ายึดวัตถุเป็นที่ตั้ง ยึดทางสายกลางต ามฐานะของตนเองและใช้สติปัญญาในการดำรงชีวิต ที่สำคัญควรหลีกเลี่ยงทุกสิ่งทุกอ ย่ างที่เป็นอบายมุข เพราะสิ่งเหล่านั้น มักจะเป็นตัวสูบเ งิ นของคุณเลยล่ะ
2. พย าย ามอ ย่ าเป็นห นี้สิน
พย าย ามลดห นี้ที่มีอยู่ให้น้อยที่สุด เท่าที่จะทำได้ หลีกเลี่ยงการผ่อนชำระหรือบริการอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็น การใช้บัตรเครดิตโดยไม่จำเป็น การกู้เ งิ นจากธนาคาร เพื่อมาลงทุน เพราะจะทำให้คุณเป็นห นี้และยังต้องเ สี ยดอ กเบี้ยรวมถึงค่าธรรมเนียมต่างๆ เพิ่มขึ้นอีกต่างหาก ซึ่งในสภาวะเศรษฐกิจที่ย่ำ แย่เป็นอุปสรรคอ ย่ างยิ่งในการชำระห นี้สิน ที่เป็นไปได้ย าก แล้วยังทำให้มีปัญหาอื่นๆ ต ามมาอีก เพราะฉะนั้นก็อย่เป็นห นี้สินเป็นอันข า ดหรือหากมีห นี้สินทีค้างคาอยู่แล้ว ก็ควรรีบจัดการปิดยอ ดให้เร็วที่สุด เพราะหากยิ่งยืดเวลาออ กไปนานเท่าไหร่ ก็จะต้องเ สี ยดอ กเบี้ยนานเท่านั้น
3. ติดต ามข่าวสารอ ย่ างสม่ำเสมอ
เราจำเป็นที่จะต้องติดต ามข่าวสาร เกี่ยวกับเศรษฐกิจ เพราะว่าเศรษฐกิจทั้งในประเทศ และต่างประเทศมีการเปลี่ยนแปลงตลอ ดเวลา ดังนั้น จึงต้องอัพเดทข่าวสารต่างๆ ให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบันอยู่เสมอ ซึ่งในปัจจุบัน มีช่องทางต่างๆ มากมาย ในการรับข่าวสารเหล่านี้ เพื่อจะได้เตรียมความพร้อมและรับมือได้ทัน
4. ลดร า ยจ่าย หาร า ยได้เพิ่ม
ปรับเปลี่ยนพฤติก ร ร มการใช้จ่าย ที่ไม่จำเป็นแบบเดิมๆ หลีกเลี่ยงการซื้ อของนิยมต ามกระแส เช่น การซื้ อสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ออ กใหม่ๆ หรือโทรศัพท์มือถือรุ่นใหม่ โดยที่เครื่องเก่ายังใช้งานได้ต ามปกติ เป็นต้น หากของที่มีอยู่ยังใช้งานได้ก็ไม่ควรซื้ อใหม่เพื่อเป็นการลดทอนร า ยจ่าย หากเรามีร า ยจ่ายมากกว่าร า ยได้ เราควรที่จะหาร า ยได้เสริม
เพื่อนำร า ยได้ส่วนนั้นไปช่วยสำหรับค่าใช้จ่ายได้อีกทางหนึ่ง เพื่อช่วยทำให้เรามีร า ยได้พอ กับร า ยจ่ายนั่นเอง เพราะด้วยเศรษฐกิจแบบนี้ หากจะใช้จ่ายต ามใจชอบ ก็คงจะไม่เหมาะมากนัก แถมข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ ก็มีร า ค าแพงมาก ดังนั้นการลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นลง และหาร า ยได้เพิ่มเติม จึงเป็นวิธีที่ควรทำที่สุด
ซึ่งสำหรับร า ยได้เสริมนั้น ก็สามารถหได้จากอาชีพเสริมที่ถนัด เช่น ทำขน มไปข า ยที่ทำงาน เปิดร้านค้าออนไลน์ รับจ๊อบงานเล็กๆ ช่วงหลังเลิกงาน หรืองานอะไรก็ได้ที่ไม่ส่งผลกระทบต่องานประจำ ที่ทำอยู่มากนัก และไม่หักโหม ร่างกายจนเกินไป เพราะต่อให้ต้องการหาร า ยได้เสริมมากแค่ไหน แต่สุ ข ภ า พร่างกาย ก็ต้องมาเป็นอันดับหนึ่งเช่นกัน
5. ลดการใช้พลังงานลดการลงทุน
ในขณะที่เศรษฐกิจย่ำ แ ย่ ควรเลือ กหาวิธีลด การใช้พลังงาน เพื่อลดค่าใช้จ่ายภายในครอบครัวอ ย่ าง เช่น การประหยัดน้ำ ประหยัดไฟฟ้า ลดการใช้น้ำมัน หัน มาใช้พลังงานทดแทนเข้ามาแทนที่เป็นต้น หลีกเลี่ยงการลงทุนที่มีความเสี่ยง ในขณะที่เศรษฐกิจกำลังตกต่ำเพื่อจะช่วยให้กิจการของคุณไม่เกิดความเ สี ยห า ยหรือข า ดทุน
6. ให้ความสำคัญกับการออมเ งิ น
เมื่อเรามีร า ยได้ที่คิดว่าพอ กับร า ยจ่าย ภายในครอบครัว เราควรออมเ งิ นส่วนหนึ่งเพื่อเก็บไว้ใช้ในย ามที่เรามีความจำเป็น เพื่อช่วยบรรเทาความเดือนร้อนลงไปได้ ในขณะที่เรามีความจำเป็นต้องใช้เ งิ น ซึ่งอนาคตข้างหน้าเราไม่รู้หรอ กว่าเศรษฐกิจจะดีขึ้นหรือย่ำ แย่กว่าเดิม เพราะฉะนั้น เราควรที่จะหัน มาให้ความสำคัญกับการออมเ งิ นให้มากที่สุด
7. ติดต ามความมั่นคงของแหล่งร า ยได้
ในเมื่อบริษัทหรือ กิจการต่างๆ นั้นอาจมีโอกาสข า ดสภาพคล่องหรือปิดกิจการและเลิกจ้างพนักงานได้ตลอ ดเวลา ดังนั้น เราควรรีบหางานใหม่หรืองานเสริมร า ยได้ เพราะถ้าถูกเลิกจ้างงานจะทำให้เราไม่เดือ ดร้อนอ ย่ างแน่นอน แนวทางเหล่านี้อาจจะเป็นทางเลือ กที่ดีสำหรับการรับมือ กับเศรษฐกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอ ดเวลา
ซึ่งหากเรานำไปเป็นแนวทางในการดำรงชีวิต จะช่วยให้คุณผ่านพ้นวิกฤตทางการเ งิ น และช่วยสร้างมั่นคงให้กับธุรกิจและสถานภาพทางการเ งิ นของคุณได้เป็นอ ย่ างดี ดังนั้น ช่วงเศรษฐกิจแบบนี้ ก็อ ย่ าลืมจัดการบริหารการเ งิ นให้รอบคอบด้วยนะ
ที่มา dhammasawatdee